สยามฟิชชิ่ง
หน้าแรก|กระดาน|รีวิว|ประมูล|ตลาด|เปิดท้าย
login | สมัครสมาชิก | วิธีสมัครสมาชิก | ลืมชื่อ/รหัส | login ไม่ได้? | 29 เม.ย. 67
บอกเล่าเก้าสิบ ตอน FRESHWATER PUFFER FISH: SiamFishing : Thailand Fishing Community
หน้าที่:< 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10
 กระดาน > น้ำจืด
ความเห็น: 249 - [23 ก.ย. 50, 20:27] ดู: 164,151 - [29 เม.ย. 67, 20:46]  ติดตาม: 2 โหวต: 12
บอกเล่าเก้าสิบ ตอน FRESHWATER PUFFER FISH
กระทู้: 68
ความเห็น: 3,168
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 11-03-2550
ความเห็นที่ 226: 11 มี.ค. 51, 22:03
น้าจิรชัยครับผมอยากดูรูปการจัดตู้ปลาแบบต่างๆ เช่นการแต่งด้วยหินการแต่งด้วยไม่น้ำต่างๆดูได้ที่ไหนมั้งครับน้า
กระทู้: 125
ความเห็น: 2,575
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 08-09-2550
ความเห็นที่ 227: 12 มี.ค. 51, 19:55
ในความคิดผมส่วนตัว น้าน่าจะลองซื้อหนังสือของ ADA contest. มาดูก่อนน่ะครับ เพราะมันจะมีผู้ประกวดที่เข
ในความคิดผมส่วนตัว น้าน่าจะลองซื้อหนังสือของ ADA contest. มาดูก่อนน่ะครับ เพราะมันจะมีผู้ประกวดที่เขาส่งไอเดียเข้าแข่งมากมาย แล้วอิเมจ ว่าจะลด หรือ จะเปลี่ยน จากต้นไม้เป็นหิน อันนี้คือคอนเซพท์แบบง่ายๆ แต่อย่างไรก็ตามผมว่าคำนึงถึงชนิดปลา ควบคู่กันไป ทีแรกผมจะเสนอให้น้าพิจารณาชนิดปลาก่อนเป็นหลัก แต่ที่น้าต้องการคือ การตกแต่งตู้เป็นหลักก่อนชนิดปลา. อย่างที่น้าเคยดูในกระทู้เรื่องเกี่ยวกับการจัดตู้ในลักษณะต่างๆแบบง่ายๆ ในกระทู้ " ได้โปรดช่วยพิจารณาด้วยครับ."

กระทู้: 125
ความเห็น: 2,575
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 08-09-2550
ความเห็นที่ 228: 12 มี.ค. 51, 20:26
อย่างที่เคยคุยกับน้าล่ะครับ ในช่วงที่คนเขานิยมเลี้ยงปลาผมกลับหาหนังสือมาอ่าน อย่างเล่มนี้ เป็นเล่มที
อย่างที่เคยคุยกับน้าล่ะครับ ในช่วงที่คนเขานิยมเลี้ยงปลาผมกลับหาหนังสือมาอ่าน อย่างเล่มนี้ เป็นเล่มที่ทำให้ผมสนใจปลาไทยมากขึ้นเรื่อยๆ ระบุตีพิมพ์ ปี พ.ศ. 2488 ครับ ตีพิมพ์โดยสถาบัน สมิทช์โซเนี่ยน ของ อาจารย์ Huge M. Smith ครับ

กระทู้: 125
ความเห็น: 2,575
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 08-09-2550
ความเห็นที่ 229: 12 มี.ค. 51, 20:28
กับเล่มนี้ครับน้า สมัยก่อนนู้นดวงกมล นำมาขายครับ. ถ้าผมจำไม่ผิดน่ะครับ. แหะ แหะ แหะ

 :grin: :grin
กับเล่มนี้ครับน้า สมัยก่อนนู้นดวงกมล นำมาขายครับ. ถ้าผมจำไม่ผิดน่ะครับ. แหะ แหะ แหะ

กระทู้: 67
ความเห็น: 3,253
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 22-09-2549
anjoras(445 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offlineใบเทา
ความเห็นที่ 230: 13 มี.ค. 51, 01:03
กระทู้: 125
ความเห็น: 2,575
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 08-09-2550
ความเห็นที่ 231: 27 มี.ค. 51, 00:33
คิดไว้หลายวันแล้วครับว่าจะเอาข้อมูลปลาชนิดนี้มาให้ชมกัน นานวันจัดเลยลืม วันนี้สงสัยว่าวันดีนึกขึ้นมา
คิดไว้หลายวันแล้วครับว่าจะเอาข้อมูลปลาชนิดนี้มาให้ชมกัน นานวันจัดเลยลืม วันนี้สงสัยว่าวันดีนึกขึ้นมาได้  เลยขอนำเสนอปลาขนาดเล็กชนิดนึง ในกลุ่มย่อยของปลาชนิดนี้ที่พบในเมืองไทย บอกได้เลยครับว่ามี เขาชนิดเดียวโดดๆ.


 
กระทู้: 125
ความเห็น: 2,575
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 08-09-2550
ความเห็นที่ 232: 27 มี.ค. 51, 00:59
Abbottina rivularis ( Basilewsky,1855.)

ชื่อทั่วไป       =  ปลาสร้อยบู่.หรือ Chinese false gudgeo
Abbottina rivularis ( Basilewsky,1855.)

ชื่อทั่วไป      =  ปลาสร้อยบู่.หรือ Chinese false gudgeon.

ขนาด          =  4 - 5 ซม.

แหล่งที่พบ    =  ในเมืองไทยมีการรายงานว่าพบในแม่น้ำโขง บริเวณ เชียงของ จังหวัดเชียงราย. เป็นปลาที่อาศัยอยู่ตามผืนกรวด หรือ ผืนทราย ที่ปกคลุมด้วยตะไคร่สีเขียวๆ.

สุดท้ายขอบคุณครับที่เข้ามาชมกระทู้นี้ครับผม ฝากเจ้าตัวน้อยนี้ใว้ในอ้อมใจของน้าๆด้วยน่ะครับ เพราะเป็นปลาสกุลที่มีชนิดเดียวที่เข้ามาในไทย. สถารภาพในปัจจุบันของเขาค่อนข้างจะล่อแหลมทีเดียวครับผม.


กระทู้: 9
ความเห็น: 1,110
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 07-12-2549
cato(11 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 233: 27 มี.ค. 51, 01:09
สวัสดีครับน้าจีรชัยได้ความรู้เยอะเลยครับ


กระทู้: 25
ความเห็น: 1,868
ล่าสุด: 18-04-2567
ตั้งแต่: 17-12-2548
ความเห็นที่ 234: 27 มี.ค. 51, 09:08
กระทู้: 81
ความเห็น: 15,503
ล่าสุด: 29-04-2567
ตั้งแต่: 06-02-2551
saosin(2706 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 235: 29 มี.ค. 51, 18:30
กระทู้: 81
ความเห็น: 15,503
ล่าสุด: 29-04-2567
ตั้งแต่: 06-02-2551
saosin(2706 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 236: 29 มี.ค. 51, 18:30
กระทู้: 27
ความเห็น: 756
ล่าสุด: 29-04-2567
ตั้งแต่: 01-03-2548
nantich(121 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 237: 29 มี.ค. 51, 19:22
เยี่ยมเลยครับ ผมก็ชอบเลี้ยงปลาเหมือนกันครับน้าจิรชัย

ผมรบกวนน้าจิรชัย ช่วยหาข้อมูล และวิธีการเลี้ยง ของปลาอัลลิเกเตอร์ กับ ปลาฟอร์ริด้า ให้ผมหน่อยได้มั๊ยครับ
พอดีผมสนใจจะเลี้ยงแต่ไม่รู้ว่า2ตัวนี้มันแตกต่างกันอย่างไรแล้ว มันต้องเลี้ยงแบบไหน รบกวนน้าจิรชัยช่วยทีครับ
กระทู้: 125
ความเห็น: 2,575
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 08-09-2550
ความเห็นที่ 238: 29 มี.ค. 51, 20:04
เรียนน้า nantich. ครับ ข้อแตกต่างของปลาทั้ง 2 สกุล ดูจากภายนอกค่อนข้างชัดเจนน่ะครับ อลิเกเตอร์มองจากด้านบนยิ่งชัดเจน ความกว้างของปากบนที่ชัดเจนทั้งความกว้างและเป็นทรงมน กว่า ฟลอริดา ปลาในวงศ์นี้ถ้าคนเคยเลี้ยงบอกเป็นเสียงเดียวว่าเลี้ยงง่าย ส่วนตัวกล้าบอกเลยครับว่าถ้าถึงจุดนึงคนเลี้ยงส่วนใหญ่จะเบื่อ จะด้วยสาเหตุอะไรก็แล้วแต่ เช่น เปลือง หรือ เลี้ยงไปเลี้ยงมาเบื่อ ดูไม่มีสเน่ห์ ค่าเลี้ยงดูสูง ฯลฯ ตรงนี่แหละครับคือจุดเปลี่ยนว่ามันจะอยู่ในบ่อ ในตู้ หรือ ตามแม่น้ำลำคลอง เลยรบกวนฝากให้น้าพิจารณาอีกครั้งครับ.

กระทู้: 27
ความเห็น: 756
ล่าสุด: 29-04-2567
ตั้งแต่: 01-03-2548
nantich(121 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 239: 29 มี.ค. 51, 20:15
ผมเคยได้ยินมาว่า ฟอริดา จะโตช้ากว่าอัลลิเกเตอร์ นี่จิงรึเปล่าครับ อยากทราบราคา ตลาดตอนนี้อะคับ รบกวนน้าจิรชัย ด้วยครับ

เพราะปัจจุบันผมเลี้ยง เรดเทลอยู่ เรื่องเปลืองอาหารจึงไม่ค่อยมีปัญหาครับ
กระทู้: 125
ความเห็น: 2,575
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 08-09-2550
ความเห็นที่ 240: 29 มี.ค. 51, 20:29
ตอนนี้ราคาผมไม่ทราบจริงๆครับน้า ฟลอริดาไม่ใช่ปลาใหญ่ถ้าเทียบกับอลิเกเตอร์ เพราะฉะนั้นการเติบโตแตกต่างกันแน่นอนครับถ้าเทียบกับระยะเวลาในการเลี้ยงที่เท่ากัน.

กระทู้: 27
ความเห็น: 756
ล่าสุด: 29-04-2567
ตั้งแต่: 01-03-2548
nantich(121 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 241: 29 มี.ค. 51, 20:44
ขอบคุณสำหรับข้อมูล มากๆครับน้าจิรชัย
กระทู้: 27
ความเห็น: 756
ล่าสุด: 29-04-2567
ตั้งแต่: 01-03-2548
nantich(121 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 242: 29 มี.ค. 51, 20:44
ขอบคุณสำหรับข้อมูล มากๆครับน้าจิรชัย
กระทู้: 125
ความเห็น: 2,575
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 08-09-2550
ความเห็นที่ 243: 4 เม.ย. 51, 22:20
วันนี้ขอนำรายละเอียดเล็กๆมาบอกกล่าวเล่าสู้ให้น้าๆน้องๆที่ชอบปลาน้ำจืดไทยเหมือนกันครับ. จากที่เราทราบ
วันนี้ขอนำรายละเอียดเล็กๆมาบอกกล่าวเล่าสู้ให้น้าๆน้องๆที่ชอบปลาน้ำจืดไทยเหมือนกันครับ. จากที่เราทราบมาตลอดว่าสกุลปลากะทิงในบ้านเรามีอยู่ 3 ชนิด คือ.

1) ปลากะทิง Mastacembelus armatus ( Lacepede,1800.)

2) ปลากะทิงไฟ Mastacembelus erythrotaenia Bleeker,1850.

3) ปลากะทิงลาย Mastacembelus favus Hora,1923.

กระทู้: 125
ความเห็น: 2,575
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 08-09-2550
ความเห็นที่ 244: 4 เม.ย. 51, 22:32
ชนิดที่ 4 ครับ.

4) Mastacembelus alboguttatus. Boulenger , 1893. มีการแพร่กระจายประชากรในฝั่งไทยด
ชนิดที่ 4 ครับ.

4) Mastacembelus alboguttatus. Boulenger , 1893. มีการแพร่กระจายประชากรในฝั่งไทยด้วยครับ นอกจากนี้ปลาชนิดนี้เท่าที่มีคนบอกมาน่าสงสารมากๆครับ คือมีคนไปรับซื้อปลาชนิดนี้ถึงที่เพื่อนำมาขึ้นเหลา.

 
กระทู้: 125
ความเห็น: 2,575
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 08-09-2550
ความเห็นที่ 245: 4 เม.ย. 51, 22:40
ชนิดที่ 5 ครับ.

5) Mastacembelus tinwini Britz,2007. ครับ ปลาชนิดนี้มีการแพร่กระจายมาในฝั่งไทยด้ว
ชนิดที่ 5 ครับ.

5) Mastacembelus tinwini Britz,2007. ครับ ปลาชนิดนี้มีการแพร่กระจายมาในฝั่งไทยด้วย.

อาจจะสรุปได้ว่าปลากะทิงที่พบในไทยมีทั้งหมด 5 ชนิดครับ. สุดท้ายขอบคุณที่เข้ามาชมกระทู้ผมครับ.

กระทู้: 125
ความเห็น: 2,575
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 08-09-2550
ความเห็นที่ 246: 30 เม.ย. 51, 21:10
ขออนุญาตแก้ไข รายละเอียดที่เคยโพสท์เอาไว้ครับผม.

ก่อนนอื่นต้องขออนุญาตขอโทษน้าท่านนึงที่เป็นเจ้าข
ขออนุญาตแก้ไข รายละเอียดที่เคยโพสท์เอาไว้ครับผม.

ก่อนนอื่นต้องขออนุญาตขอโทษน้าท่านนึงที่เป็นเจ้าของกระทู้และเจ้าของภาพ ที่นำภาพมาโพสท์ใช้โดยมิได้บอกกล่าว แต่มีความประสงค์ที่แก้ไขให้ถูกต้อง เนื่องจากตัวเองบอกรายชื่อปลาผิดพลาดไปครับ อ้างถึงปลาเล็ก (ตามภาพ.) ที่ผมบอกชื่อว่าเป็น Dangila sp. cf. cuvieri.  หรือ  Dangila leptocheilus. ด้วยภาพที่เห็นผมระบุชื่อนี้เพราะ.
1) จุดดำบริเวณโคนหาง.
2) แถบประสีดำยาวตามลำตัว.


 
กระทู้: 125
ความเห็น: 2,575
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 08-09-2550
ความเห็นที่ 247: 30 เม.ย. 51, 21:25
ขอแก้ไขเป็น Labiobarbus spilopleura Smith , 1934. เราสามารถเรียกปลาชนิดนี้ว่า ปลาสร้อยลูกกล้วย หรือ
ขอแก้ไขเป็น Labiobarbus spilopleura Smith , 1934. เราสามารถเรียกปลาชนิดนี้ว่า ปลาสร้อยลูกกล้วย หรือ ปลาซ่า ด้วยเหตุผลที่ว่า.
1) ปลาชนิดมีครีบหลังที่ยาวเกือบถึงขอดหางเหมือนกับปลาที่ผมบอกชื่อผิดไปครับ.
2) ถ้าสังเกตุจากภาพจริงจะเห็นวงรีที่อยู่เหนือครีบหู และมีจุดดำที่โคนหาง.(ตามภาพวาด)

ถ้าหากนำปลาชนิดนี้ไปเทียบกับปลาสร้อยนกเขา ข้อแตกต่างคือ ปลาสร้อยนกเขาจะตัวกว้างกว่า ในขณะที่ครีบหลังของปลาสร้อยนกเขาจะสั้นกว่ากว่าปลาซ่าด้วย (จำนวนก้านครีบหลังของปลาสร้อยนกเขาจะน้อยกว่าคือ = 15-18  ในขณะที่ปลาซ่า หรือ ปลาสร้อยลูกกล้วยชนิดนี้มีถึง 25-26.ครับผม )

กระทู้: 125
ความเห็น: 2,575
ล่าสุด: 27-01-2566
ตั้งแต่: 08-09-2550
ความเห็นที่ 248: 30 เม.ย. 51, 21:28
สุดท้ายขอบคุณน้าๆที่เข้ามาชมกระทู้ผมครับ.

กระทู้: 9
ความเห็น: 1,931
ล่าสุด: 27-08-2566
ตั้งแต่: 07-04-2550
king_abu(40 คะแนนโหวตจากผู้ชมกระทู้)offline
ความเห็นที่ 249: 30 เม.ย. 51, 21:53



หน้าที่:< 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10
กรุณา ลงทะเบียน และ login ก่อนส่งความเห็นครับ
siamfishing.com © 2024