กระดาน
รีวิว
ตลาด
ประมูล
เปิดท้าย
เรือ
แหล่งตกปลา
ร้านค้า
ค้นหาข้อมูล
Login
สมัคร
26 พ.ค. 68
เรื่อง หนอน...หนอน(TAXAS): SiamFishing : Thailand Fishing Community
<
1
2
3
4
5
>
กระดาน
คห. 104 อ่าน 10,878 โหวต 42
เรื่อง หนอน...หนอน(TAXAS)
BURAPATEAM
คห.26: 16 พ.ค. 54, 09:13
boy1983
(432
)
คห.27: 16 พ.ค. 54, 09:22
ตามมาเก็บความรู้ด้วยคนคร๊าบบบบบ ผมว่าสีก็มีส่วนทำให้ปลามองเห็นแต่Actionของตัวเหยื่อมาอันดับแรก ( ความคิดเห็นส่วนตัวนะคร๊าบบบบ )
มิน่าละกบ pt ถึงมีหลายสี
++++ชอบสีดำเป็นพิเศษ เจ็บจริงกัดจริง
สวัสดีครับน้า future
blackbat4
(996
)
คห.28: 16 พ.ค. 54, 09:26
EVOIII
(386
)
คห.29: 16 พ.ค. 54, 09:30
กระทู้มีประโยชน์จัดไป++++++++
teerawat
(53
)
คห.30: 16 พ.ค. 54, 09:33
Beethoven
(2077
)
คห.31: 16 พ.ค. 54, 09:33
+11111111111111 มาติดตามเก็บความรู้ด้วยครับ
พวกเรารัก Texas เสมอๆ
A21
(2434
)
คห.32: 16 พ.ค. 54, 09:48
ตามมาเก็บความรู้ด้วยคร้าบบบบบ...
MrSHARK
(2963
)
คห.33: 16 พ.ค. 54, 09:54
การเลือกสีของเหยื่อในแต่ละพื้นที่ไม่เหมือนกัน อยู่ที่สภาพแวดล้อม ความเคยชินของเหยื่อที่ปลาล่าเป็นอาหาร เราต้องหาให้เจอ
โดยปกติเรามักคิดแทนปลาว่า เลือกสีที่ปลามองเห็นชัด ๆ "เราเห็น ปลาก็ต้องเห็น"
ความคิดนี้ จึงถูกบัญญัติเป็นพื้นฐานของการเลือกสีของเหยื่อ ว่า "ควรเลือกสีที่ตัดกับสภาพแหล่งน้ำ" เป็นอันดับต้น ๆ ข้อเท็จจริงจึงถูกมองข้ามไปว่า...
ปลามีสัมผัสพิเศษ คือ "เ้ส้นประสาทรับความรู้สึกข้างลำตัว" (Lateral Line)
และการรับรู้จากกลิ่น...
เพื่อเป็นข้อสันนิษฐานเบื้องต้นว่านั่นคือ "อาหาร"
ถ้าปลาใช้ตาเป็นหลัก ในน้ำขุ่น ๆ ปลาคงอดอาหารตายเพราะหาเหยื่อไม่เจอ ปลาที่อาศัยอยู่ในถ้ำหรือในทะเลลึกมาก ๆ ที่แสงไปไม่ถึงก็จะหาอาหารไม่ได้เลย
และถ้าปลาใช้ตาเป็นหลัก ปลาล่าเหยื่อจะไม่กัดเหยื่อปลอม เราจะใช้เหยื่อปลอมหลอกปลาไม่ได้เลย เพราะปลามันรู้ว่า "ปลอม"
ผมจึงเชื่อว่าแอ็คชั่นของเหยื่อที่สร้างการสั่นสะเทือนได้ใกล้เีคียงกับสิ่งที่เป็นอาหารของปลา เรียกความสนใจของปลาเป็นลำดับที่หนึ่ง ลำดับที่สองคือกลิ่น (ซึ่งเหยื่อปลอมต้องมองข้ามไป) และลำดับสุดท้ายของการตัดสินใจโจมตีเหยื่อคือสายตา ซึ่งที่จริงแล้วไม่ใช่องค์ประกอบสำคัญเลย เราจะพบว่าบางครั้งเพียงเหยื่อตกน้ำ ปลาก็หลับหูหลับตาเข้ากัดแล้ว (ถ้ารู้ว่ากินไม่ได้มันก็คายทิ้ง) ปลาล่าเหยื่อมีสัญชาตญาณที่รู้ดีว่ามันมีโอกาสไม่มากนักในการเข้ากัดเหยื่อ ปลาเหล่านี้จึงอาศัยความเร็วเป็นหลักในการเข้าโจมตีเพื่อไม่ให้เหยื่อได้ทันตั้งตัว...
แต่แน่นอนว่า ถ้าสีไม่สำคัญ เหยื่อปลอมในโลกนี้คงมีสีเดียวแน่ ๆ ซึ่งน่าจะเป็นสีขาว
สำหรับเหยื่อยาง การเลือกเหยื่อออกจากกล่องมาใช้ เชื่อว่า หลายคนมีเหยื่อตัวเก่งส่วนตัว ประเภทนี้ สีนี้ ไม่เคยทำให้ผิดหวัง อย่างน้อยก็เพื่อให้ได้ตัวเอาฤกษ์เอาชัยไว้ก่อน เหยื่อตัวเก่งจึงมักถูกอัญเชิญมาประเดิมหมายใหม่ ๆ ก่อนเป็นลำดับแรก....
ถ้าได้ตัว ก็มีโอกาสที่เหยื่อประเภทนั้น สีนั้น จะถูกใช้ไปตัวเดียวทั้งวัน ทั้ง ๆ ที่ยังมีแบบอื่นอยู่เต็มกล่อง
พกเหยื่อมาเต็มกล่องใหญ่ ๆ เดินแบกไปด้วยระยะทางเป็นกิโล ๆ ใช้เหยื่อตัวแรกตีไปสองไม้กัดเลย ได้ตัว เลยใช้อยู่แบบเดียวสีเดียวทั้งวัน แล้วจะแบกที่เหลือไปทำไม
เสน่ห์ของการใช้เหยื่อยาง (รวมทั้งเหยื่อปลอมทุกประเภท) ก็เลยหายไป เพราะต้องการให้ได้ตัวแน่ ๆ และเยอะ ๆ อย่างเดียว
สรุปความเห็นของผมเรื่องสีของเหยื่อ อยู่ที่ย่อหน้าแรก ขอบคุณครับ...
ptlure
(530
)
คห.34: 16 พ.ค. 54, 10:13
อ้างถึง: MrSHARK posted: 16-05-2554, 09:54:02
การเลือกสีของเหยื่อในแต่ละพื้นที่ไม่เหมือนกัน อยู่ที่สภาพแวดล้อม ความเคยชินของเหยื่อที่ปลาล่าเป็นอาหาร ต้องหาให้เจอ
โดยปกติเรามักคิดแทนปลาว่า เลือกสีที่ปลามองเห็นชัด ๆ "เราเห็น ปลาก็ต้องเห็น"
ความคิดนี้ จึงถูกบัญญัติเป็นพื้นฐานของการเลือกสีของเหยื่อ ว่า "ควรเลือกสีที่ตัดกับสภาพแหล่งน้ำ" เป็นอันดับต้น ๆ ข้อเท็จจริงจึงถูกมองข้ามไปว่า...
ปลามีสัมผัสพิเศษ คือ "เ้ส้นประสาทรับความรู้สึกข้างลำตัว" (Lateral Line)
และการรับรู้จากกลิ่น...
เพื่อเป็นข้อสันนิษฐานเบื้องต้นว่านั่นคือ "เหยื่อ"
ถ้าปลาใช้ตาเป็นหลัก ในน้ำขุ่น ๆ ปลาคงอดอาหารตายเพราะหาเหยื่อไม่เจอ ปลาที่อาศัยอยู่ในถ้ำหรือในทะเลลึกมาก ๆ ที่แสงไปไม่ถึงก็จะหาอาหารไม่ได้เลย
และถ้าปลาใช้ตาเป็นหลัก ปลาล่าเหยื่อจะไม่กัดเหยื่อปลอม เราจะใช้เหยื่อปลอมหลอกปลาไม่ได้เลย
ผมจึงเชื่อว่าแอ็คชั่นของเหยื่อที่สร้างการสั่นสะเทือนได้ใกล้เีคียงกับสิ่งที่เป็นอาหารของปลา เรียกความสนใจของปลาเป็นลำดับที่หนึ่ง ลำดับที่สองคือกลิ่น (ซึ่งเหยื่อปลอมต้องมองข้ามไป) และลำดับสุดท้ายของการตัดสินใจโจมตีเหยื่อคือสายตา ซึ่งที่จริงแล้วไม่ใช่องค์ประกอบสำคัญเลย เราจะพบว่าบางครั้งเพียงเหยื่อตกน้ำ ปลาก็หลับหูหลับตาเข้ากัดแล้ว (ถ้ารู้ว่ากินไม่ได้มันก็คายทิ้ง) ปลาล่าเหยื่อมีสัญชาตญาณที่รู้ดีว่ามันมีโอกาสไม่มากนักในการเข้ากัดเหยื่อ ปลาเหล่านี้จึงอาศัยความเร็วเป็นหลักในการเข้าโจมตีเพื่อไม่ให้เหยื่อได้ทันตั้งตัว...
แต่แน่นอนว่า ถ้าสีไม่สำคัญ เหยื่อปลอมในโลกนี้คงมีสีเดียวแน่ ๆ ซึ่งน่าจะเป็นสีขาว
สำหรับเหยื่อยาง การเลือกเหยื่อออกจากกล่องมาใช้ เชื่อว่า หลายคนมีเหยื่อตัวเก่งส่วนตัว ประเภทนี้ สีนี้ ไม่เคยทำให้ผิดหวัง อย่างน้อยก็เพื่อให้ได้ตัวเอาฤกษ์เอาชัยไว้ก่อน เหยื่อตัวเก่งจึงมักถูกอัญเชิญมาประเดิมหมายใหม่ ๆ ก่อนเป็นลำดับแรก....
ถ้าได้ตัว ก็มีโอกาสที่เหยื่อประเภทนั้น สีนั้น จะถูกใช้ไปตัวเดียวทั้งวัน ทั้ง ๆ ที่ยังมีแบบอื่นอยู่เต็มกล่อง
พกเหยื่อมาเต็มกล่องใหญ่ ๆ เดินแบกไปรอบบ่อระยะทางเป็นกิโล ๆ ตัวแรกตีไปสองไม้กัดเลย ได้ตัว เลยใช้อยู่แบบเดียวสีเดียวทั้งวัน แล้วจะแบกที่เหลือไปทำไม
เสน่ห์ของการใช้เหยื่อยางก็เลยหายไป เพราะต้องการให้ได้ตัวแน่ ๆ และเยอะ ๆ อย่างเดียว
สรุปความเห็นของผมเรื่องสีของเหยื่อ อยู่ที่ย่อหน้าแรก ขอบคุณครับ...
COPY COPY ด่วนเดี๋ยวข้อมูลหาย.....ฮิฮิ
ไม่ผิดหวังโทรมาถามผม....ผมส่งสายให้น้าหลามตอบแทนซะงั้น....กรั่กๆๆๆๆๆๆๆๆๆ
มาเพิ่มให้จากบทความที่น้าหลามให้ไว้นานแล้ว
ถ้าว่ากันตามทฤษฎีเหยื่อปลอม ตามนั้นเลยครับ สูตรการเลือกสี ควรจะมีสีตัดกับสภาพความขุ่นของน้ำ นั่นว่ากันถึงปลาล่าเหยื่อทุกชนิด บวกกับความรู้สึกของนักตกปลาว่า เราเห็น ปลาก็คงเห็น แต่เรารู้ได้อย่างไรว่า ปลาล่าเหยื่อทั้งหลาย ล่าเหยื่อโดยใช้ประสาทตา มากกว่าประสาทส่วนอื่น
ปลาส่วนใหญ่มีเส้นประสาทข้างลำตัว จับความสั่นสะเทือน ความผิดปกติ แยกแยะว่าอะไรคือ อาหาร อะไรคือศัตรู อะไรคือสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ
ว่ากันถึงปลาช่อน เท่าที่พอจะรู้ จากที่เคยตกบ่อย ๆ
ไม่ว่าเหยื่อสีอะไร ตีลงไปแล้วลองแช่ไว้เฉย ๆ ดูสิครับ ไม่ต้องสร้างแอ็คชั่น ไม่ต้องขยับ คงไม่ต้องเดาว่าจะมีปลาตัวไหนมากัด ต่อให้เหยื่อสดด้วย กบที่ตายแล้ว ตีลงไปนอนแอ้งแม้งเฉย ๆ ไม่ขยับเขยื้อน เจ้าปลาที่ซุ่มก็คงซุ่มต่อไป ทั้งที่เหยื่อที่กินได้อยู่ห่างไปไม่มาก
ปลาช่อนสายตาดีแน่ครับ สังเกตจากเวลาเห็นมันขึ้นจิบ ใกล้ ๆ ที่เรายืนอยู่ ถ้าเราขยับตัว มันผลุบหายทันที เช่นนั้น ผมจึงเชื่อว่า ปลาช่อนใช้ประสาทตาเป็นตัวช่วยในการระวังภัย แต่ถ้าเป็นการล่าผมเชื่อว่ามันใช้ประสาทส่วนอื่นเป็นหลัก การใช้เหยื่อผิวน้ำเช่นกบกระโดด สกัมฟร็อก ฯลฯ กับปลาช่อน ผู้ชำนาญทั้งหลายจึงแนะนำว่าเวลาตีให้ตีเหยื่อตกน้ำแบบเบา ๆ หรือพอเหมาะ หรือตีขึ้นฝั่งแล้วลากลงน้ำให้ใกล้เคียงธรรมชาติ แล้วค่อยลากออกแอ็คชั่นในน้ำ ขืนตีลงน้ำตูม ปลาหนีหมด เช่นกัน ปลาช่อนกัดกบผิวน้ำเพราะคิดว่าเป็นกบจริงจากแอ็คชั่น ไม่เชื่อก็ลองตีลงไปแหมะ ลอยตุ๊บป่อง ๆ เฉย ๆ ดู สีอะไรก็ตาม เงียบ
ผมจึงเชื่อว่าแอ็คชั่นสำคัญที่สุด การสั่นสะเทือนใต้น้ำที่ปลาจับความรู้สึกได้ (แต่มนุษย์ไม่มี/ไม่คุ้นกับการใช้ประสาทสัมผัสแบบนี้) ส่วนสีและส่วนประกอบอื่นที่ทำให้ปลามองเห็น เป็นเรื่องรองลงไปแต่ไม่ใช่ไม่มีความสำคัญ ไม่เช่นนั้น เหยื่อปลอมทุกชนิดในโลก มีสีเดียวแน่ ๆ
ปลาช่อน ผมเคยได้ในน้ำขุ่นคลั่ก ด้วยเหยื่อสีดำสนิท เคยได้ในน้ำใสแจ๋ว ด้วยเหยื่อสีใสเจือกากเพชร
ผมเคยแสดงความเห็นไว้บ้างแล้วว่า เลือกสีเหยื่อตามใจเราก่อน อย่าพึ่งตามใจปลา เพราะมันไม่เคยมีข้อยุติ บางทีท่านเข้าหมายแล้วยังไม่ทันสังเกต/สำรวจสภาพแวดล้อมของหมายดี กลัวไม่ทันเพื่อน หยิบเหยื่ออะไรออกมาได้ก็เกี่ยวตีออกไปก่อน แล้วบังเอิญปลากัดตั้งแต่ไม้แรก ได้ตัว ร้อยทั้งร้อย ตีเหยื่อสีนั้นไปอีกอย่างน้อยครึ่งวันแหละครับ ฟลุ๊กได้มาอีกตัว อิ่มใจ ตีสีเดิมต่อ พอพักกินข้าวกลางวัน เข้าไปรวมตัวกับเพื่อน เพื่อนสอยมาเป็นสิบ อีกครึ่งวันหลัง ท่านเปลี่ยนเป็นสีที่เพื่อนใช้แน่นอน
แล้วเพื่อนที่ครึ่งวันยังไม่ได้ปลาเลย ทายซิ เค้าจะใช้สีอะไรต่อไป
jackynoi
(1224
)
คห.35: 16 พ.ค. 54, 10:17
fishingjoke
(1263
)
คห.36: 16 พ.ค. 54, 10:18
+++++ครับ หนอน TEXAS
เก้าบั้งไฟFC
(170
)
คห.37: 16 พ.ค. 54, 10:23
ตามชมคร๊าบบบ
kajeeman
(121
)
คห.38: 16 พ.ค. 54, 10:37
oomza556
(66
)
คห.39: 16 พ.ค. 54, 10:46
ถูกต้องครับ
iml3al3y
(24
)
คห.40: 16 พ.ค. 54, 10:50
narita
(4636
)
คห.41: 16 พ.ค. 54, 12:42
++++++++++++++++++++ครับน้า
ray.1930
(203
)
คห.42: 16 พ.ค. 54, 12:44
peungkaleab
(4691
)
คห.43: 16 พ.ค. 54, 13:00
+++
ทานุกิ
(196
)
คห.44: 16 พ.ค. 54, 13:03
+++ว่าจะลองเหยื่อยางมั่งครับยังไม่ได้ลองเลย เหยื่อไม้เอาแห้วกลับบ้านตลอด ตอนนี้เก็บข้อมูลเหยื่อยางก่อน
IsSuE`
(4272
)
คห.45: 16 พ.ค. 54, 13:51
moo_yai13
(14
)
คห.46: 16 พ.ค. 54, 15:01
ตามเก็บความรู้ด้วยคนครับ
batoo
(665
)
คห.47: 16 พ.ค. 54, 15:33
++แจ่มครับได้รู้อีกเยอะ แนวนี้สุดยอดจริงๆ
แต่ผมชอบหนอนดำหางเขียวกับขาวหางเขียวครับโดนตลอด
CHAIPORN
(604
)
คห.48: 16 พ.ค. 54, 16:09
ขอบคุณผู้ตั้งกระทู้ .............................
ขอบคุณผู้รู้ที่เข้ามาตอบ .....................
ขอบคุณผู้เข้ามาอ่าน .......................... TEXAS จงเริญ
boy1983
(432
)
คห.49: 16 พ.ค. 54, 22:15
การเลือกสีของเหยื่อในแต่ละพื้นที่ไม่เหมือนกัน อยู่ที่สภาพแวดล้อม ความเคยชินของเหยื่อที่ปลาล่าเป็นอาหาร เราต้องหาให้เจอ โดยปกติเรามักคิดแทนปลาว่า เลือกสีที่ปลามองเห็นชัด ๆ "เราเห็น ปลาก็ต้องเห็น" ความคิดนี้ จึงถูกบัญญัติเป็นพื้นฐานของการเลือกสีของเหยื่อ ว่า "ควรเลือกสีที่ตัดกับสภาพแหล่งน้ำ" เป็นอันดับต้น ๆ ข้อเท็จจริงจึงถูกมองข้ามไปว่า... ปลามีสัมผัสพิเศษ คือ "เ้ส้นประสาทรับความรู้สึกข้างลำตัว" (Lateral Line) และการรับรู้จากกลิ่น... เพื่อเป็นข้อสันนิษฐานเบื้องต้นว่านั่นคือ "อาหาร" ถ้าปลาใช้ตาเป็นหลัก ในน้ำขุ่น ๆ ปลาคงอดอาหารตายเพราะหาเหยื่อไม่เจอ ปลาที่อาศัยอยู่ในถ้ำหรือในทะเลลึกมาก ๆ ที่แสงไปไม่ถึงก็จะหาอาหารไม่ได้เลย และถ้าปลาใช้ตาเป็นหลัก ปลาล่าเหยื่อจะไม่กัดเหยื่อปลอม เราจะใช้เหยื่อปลอมหลอกปลาไม่ได้เลย เพราะปลามันรู้ว่า "ปลอม" ผมจึงเชื่อว่าแอ็คชั่นของเหยื่อที่สร้างการสั่นสะเทือนได้ใกล้เีคียงกับสิ่งที่เป็นอาหารของปลา เรียกความสนใจของปลาเป็นลำดับที่หนึ่ง ลำดับที่สองคือกลิ่น (ซึ่งเหยื่อปลอมต้องมองข้ามไป) และลำดับสุดท้ายของการตัดสินใจโจมตีเหยื่อคือสายตา ซึ่งที่จริงแล้วไม่ใช่องค์ประกอบสำคัญเลย เราจะพบว่าบางครั้งเพียงเหยื่อตกน้ำ ปลาก็หลับหูหลับตาเข้ากัดแล้ว (ถ้ารู้ว่ากินไม่ได้มันก็คายทิ้ง) ปลาล่าเหยื่อมีสัญชาตญาณที่รู้ดีว่ามันมีโอกาสไม่มากนักในการเข้ากัดเหยื่อ ปลาเหล่านี้จึงอาศัยความเร็วเป็นหลักในการเข้าโจมตีเพื่อไม่ให้เหยื่อได้ทันตั้งตัว... แต่แน่นอนว่า ถ้าสีไม่สำคัญ เหยื่อปลอมในโลกนี้คงมีสีเดียวแน่ ๆ ซึ่งน่าจะเป็นสีขาว สำหรับเหยื่อยาง การเลือกเหยื่อออกจากกล่องมาใช้ เชื่อว่า หลายคนมีเหยื่อตัวเก่งส่วนตัว ประเภทนี้ สีนี้ ไม่เคยทำให้ผิดหวัง อย่างน้อยก็เพื่อให้ได้ตัวเอาฤกษ์เอาชัยไว้ก่อน เหยื่อตัวเก่งจึงมักถูกอัญเชิญมาประเดิมหมายใหม่ ๆ ก่อนเป็นลำดับแรก.... ถ้าได้ตัว ก็มีโอกาสที่เหยื่อประเภทนั้น สีนั้น จะถูกใช้ไปตัวเดียวทั้งวัน ทั้ง ๆ ที่ยังมีแบบอื่นอยู่เต็มกล่อง พกเหยื่อมาเต็มกล่องใหญ่ ๆ เดินแบกไปด้วยระยะทางเป็นกิโล ๆ ใช้เหยื่อตัวแรกตีไปสองไม้กัดเลย ได้ตัว เลยใช้อยู่แบบเดียวสีเดียวทั้งวัน แล้วจะแบกที่เหลือไปทำไม เสน่ห์ของการใช้เหยื่อยาง (รวมทั้งเหยื่อปลอมทุกประเภท) ก็เลยหายไป เพราะต้องการให้ได้ตัวแน่ ๆ และเยอะ ๆ อย่างเดียว สรุปความเห็นของผมเรื่องสีของเหยื่อ อยู่ที่ย่อหน้าแรก ขอบคุณครับ...
ขอบคุณ ครับ
boy1983
(432
)
คห.50: 16 พ.ค. 54, 22:17
COPY COPY ด่วนเดี๋ยวข้อมูลหาย.....ฮิฮิ ไม่ผิดหวังโทรมาถามผม....ผมส่งสายให้น้าหลามตอบแทนซะงั้น....กรั่กๆๆๆๆๆๆๆๆๆ มาเพิ่มให้จากบทความที่น้าหลามให้ไว้นานแล้ว ถ้าว่ากันตามทฤษฎีเหยื่อปลอม ตามนั้นเลยครับ สูตรการเลือกสี ควรจะมีสีตัดกับสภาพความขุ่นของน้ำ นั่นว่ากันถึงปลาล่าเหยื่อทุกชนิด บวกกับความรู้สึกของนักตกปลาว่า เราเห็น ปลาก็คงเห็น แต่เรารู้ได้อย่างไรว่า ปลาล่าเหยื่อทั้งหลาย ล่าเหยื่อโดยใช้ประสาทตา มากกว่าประสาทส่วนอื่น ปลาส่วนใหญ่มีเส้นประสาทข้างลำตัว จับความสั่นสะเทือน ความผิดปกติ แยกแยะว่าอะไรคือ อาหาร อะไรคือศัตรู อะไรคือสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ ว่ากันถึงปลาช่อน เท่าที่พอจะรู้ จากที่เคยตกบ่อย ๆ ไม่ว่าเหยื่อสีอะไร ตีลงไปแล้วลองแช่ไว้เฉย ๆ ดูสิครับ ไม่ต้องสร้างแอ็คชั่น ไม่ต้องขยับ คงไม่ต้องเดาว่าจะมีปลาตัวไหนมากัด ต่อให้เหยื่อสดด้วย กบที่ตายแล้ว ตีลงไปนอนแอ้งแม้งเฉย ๆ ไม่ขยับเขยื้อน เจ้าปลาที่ซุ่มก็คงซุ่มต่อไป ทั้งที่เหยื่อที่กินได้อยู่ห่างไปไม่มาก ปลาช่อนสายตาดีแน่ครับ สังเกตจากเวลาเห็นมันขึ้นจิบ ใกล้ ๆ ที่เรายืนอยู่ ถ้าเราขยับตัว มันผลุบหายทันที เช่นนั้น ผมจึงเชื่อว่า ปลาช่อนใช้ประสาทตาเป็นตัวช่วยในการระวังภัย แต่ถ้าเป็นการล่าผมเชื่อว่ามันใช้ประสาทส่วนอื่นเป็นหลัก การใช้เหยื่อผิวน้ำเช่นกบกระโดด สกัมฟร็อก ฯลฯ กับปลาช่อน ผู้ชำนาญทั้งหลายจึงแนะนำว่าเวลาตีให้ตีเหยื่อตกน้ำแบบเบา ๆ หรือพอเหมาะ หรือตีขึ้นฝั่งแล้วลากลงน้ำให้ใกล้เคียงธรรมชาติ แล้วค่อยลากออกแอ็คชั่นในน้ำ ขืนตีลงน้ำตูม ปลาหนีหมด เช่นกัน ปลาช่อนกัดกบผิวน้ำเพราะคิดว่าเป็นกบจริงจากแอ็คชั่น ไม่เชื่อก็ลองตีลงไปแหมะ ลอยตุ๊บป่อง ๆ เฉย ๆ ดู สีอะไรก็ตาม เงียบ ผมจึงเชื่อว่าแอ็คชั่นสำคัญที่สุด การสั่นสะเทือนใต้น้ำที่ปลาจับความรู้สึกได้ (แต่มนุษย์ไม่มี/ไม่คุ้นกับการใช้ประสาทสัมผัสแบบนี้) ส่วนสีและส่วนประกอบอื่นที่ทำให้ปลามองเห็น เป็นเรื่องรองลงไปแต่ไม่ใช่ไม่มีความสำคัญ ไม่เช่นนั้น เหยื่อปลอมทุกชนิดในโลก มีสีเดียวแน่ ๆ ปลาช่อน ผมเคยได้ในน้ำขุ่นคลั่ก ด้วยเหยื่อสีดำสนิท เคยได้ในน้ำใสแจ๋ว ด้วยเหยื่อสีใสเจือกากเพชร ผมเคยแสดงความเห็นไว้บ้างแล้วว่า เลือกสีเหยื่อตามใจเราก่อน อย่าพึ่งตามใจปลา เพราะมันไม่เคยมีข้อยุติ บางทีท่านเข้าหมายแล้วยังไม่ทันสังเกต/สำรวจสภาพแวดล้อมของหมายดี กลัวไม่ทันเพื่อน หยิบเหยื่ออะไรออกมาได้ก็เกี่ยวตีออกไปก่อน แล้วบังเอิญปลากัดตั้งแต่ไม้แรก ได้ตัว ร้อยทั้งร้อย ตีเหยื่อสีนั้นไปอีกอย่างน้อยครึ่งวันแหละครับ ฟลุ๊กได้มาอีกตัว อิ่มใจ ตีสีเดิมต่อ พอพักกินข้าวกลางวัน เข้าไปรวมตัวกับเพื่อน เพื่อนสอยมาเป็นสิบ อีกครึ่งวันหลัง ท่านเปลี่ยนเป็นสีที่เพื่อนใช้แน่นอน แล้วเพื่อนที่ครึ่งวันยังไม่ได้ปลาเลย ทายซิ เค้าจะใช้สีอะไรต่อไป
อัดให้มันเต็มหัวไปเลย
<
1
2
3
4
5
>
siamfishing.com © 2025